|
|
 |
|
|
นาง จันทร์เพ็ญ แสงประกาย |
ตำแหน่ง |
• |
นักวิจัย เชี่ยวชาญ
|
|
|
• |
หัวหน้าฝ่ายโภชนาการและสุขภาพ |
|
อีเมล์ |
• |
ifrjps@ku.ac.th |
|
เบอร์โทร |
• |
0 2942 8629-35 (1922) |
|
ความเชี่ยวชาญ |
• |
- การทดสอบความเป็นพิษแบบระยะสั้น
- การตรวจวัดคุณสมบัติเชิงสุขภาพของผักพื้นบ้านและอาหารไทย |
|
ผลงานวิจัย |
• |
- ผลของกระบวนการปรุงสุกแบบพื้นบ้านไทยที่มีต่อฤทธิ์และปริมาณ
ของสารก่อกลายพันธ์ในเนื้อหมู
-ฤทธิ์ต้านการแบ่งเซลล์ของพืชบางชนิดที่เป็นส่วนผสมในเครื่องแกง
เขียวหวานต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว
- การตรวจสอบความเป็นพิษต่อยีนและฤทธิ์ยับยั่งการกลายพันธุ์ของ
สารสกัดจากลองกองโดยใช้แบคทีเรีย
- ผลของความร้อนที่มีต่อฤทธิ์ต้านการกลายพันธุ์ของพืชตระกูลแตงบางชนิด |
|

|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
ดร. วิชชา ตรีสุวรรณ |
ตำแหน่ง |
• |
นักวิจัย ชำนาญการ |
|
อีเมล์ |
• |
ifrwctw@ku.ac.th |
|
เบอร์โทร |
• |
0 2942 8629-35 (1815) |
|
ความเชี่ยวชาญ |
• |
- การศึกษาและทำนายคุณสมบัติของโมเลกุล สารอาหารฟังก์ชั่น และสารชนิดใหม่
- การศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีอีมัลชัน และการบรรจุสารอาหารฟังก์ชั่น
- การศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์การปรุงอาหาร (Molecular gastronnomy) และการพัฒนานวัตกรรมการปรุงอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
|
ผลงานวิจัย |
• |
- Elucidation of hydroxyl groups-anioxidant relationship in mono-and dihydroxyflavones based on O-H bond dissociation enthalpies
- Encapsulated fish oil-in-hydrogel using juices from Thai fruits
- ผลิตภัณฑ์ฟองโฟมผลไม้กึ่งสำเร็จรูป (พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยี) |
|

|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
น.ส. ชุษณา เมฆโหรา |
ตำแหน่ง |
• |
นักวิจัย ชำนาญการ |
|
อีเมล์ |
• |
ifrcnm@ku.ac.th |
|
เบอร์โทร |
• |
0 2942 8629-35 (1603) |
|
ความเชี่ยวชาญ |
• |
- เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์ไลน์ในงานด้านอาหารและโภชนาการ
- การต้านการอักเสบและอนุมูลอิสระในระดับเซลล์
- การย่อยและดูดซึมอาหารในหลอดทดลอง
- การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเฉพาะโรค |
|
ผลงานวิจัย |
• |
- การยับยั้งกลไกการอักเสบในเซลล์เม็ดเลือดขาวของผักและผลไม้พื้นบ้านไทย
- คุณสมบัติของถั่วแดงอะซูกิต่อการต้านการอักเสบจากสภาวะเบาหวาน
- การดูดซึมและการนำไปใช้ของสารสกัดเบต้าไซยานินจากเปลือกแก้วมังกร
- ผลิตภัณฑ์อาหารลดโซเดียม ผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับผู้สูงอายุและกลืนลำบาก |
|

|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
นาง วนิดา เทวารุทธิ์ ชิติสรรค์กุล |
ตำแหน่ง |
• |
นักวิจัยชำนาญการ |
|
อีเมล์ |
• |
ifrwnd@ku.ac.th |
|
เบอร์โทร |
• |
0 2942 8629-35 (1605) |
|
ความเชี่ยวชาญ |
• |
- ศึกษาสารสำคัญต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพในถั่วเหลือง และกลุ่ม
ธัญพืชมีสี เช่น สาร isoflavone สาร saponin ในถั่วเหลือง สาร phenolic ในข้าวสี และคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ
- พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากถั่วเหลือง และธัญพืชชนิดต่างๆ |
|
ผลงานวิจัย |
• |
- ผลงานตีพิมพ์เกี่ยวกับสาร saponin ในผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองที่มีผลต่อสุขภาพและคุณภาพของผลิตภัณฑ์
-ผลงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากถั่วเหลือง เช่น เทมเป้ ผงชงดื่มจากถั่วเหลือง กราโนล่าในรูปแบบต่างๆ |
|

|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
ดร. ดาลัด ศิริวัน |
ตำแหน่ง |
• |
นักวิจัย ชำนาญการ |
|
อีเมล์ |
• |
ifrdls@ku.ac.th |
|
เบอร์โทร |
• |
0 2942 8629-35 (1823) |
|
ความเชี่ยวชาญ |
• |
- โภชนพันธุศาสตร์ (Nutrigenomic)
อาหารฟังก์ชั่น (Functional food)
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสำคัญในการยับยั้งการเกิด
โรคต่างๆ เช่น มะเร็ง อัลไซเมอร์ โรคอ้วน โดยใช้เซลล์มนุษย์ |
|
ผลงานวิจัย |
• |
- คุณสมบัติในการยับยั้งการก่อกลายพันธุ์และป้องกันการเกิดมะเร็ง
ของผลไม่ไทยฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและยับยั่งเอนไซม์อะเซติลโคลีน
เอสเทอเรสของสาหร่ายสไปรูลิน่าฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านโรค
อัลไซเมอร์ของแปะตำปึงและจินเจียเหมาเยี่ยการผลิตสารออกฤทธิ์
จากกระชายเหลืองเพื่อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางค์เพื่อผิวขาว |
|

|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|