เรื่องเล่ารสขม

เรื่องเล่ารสขม
ชื่อวารสาร/ชื่อบทความ เรื่องเล่ารสขม
ปีที่/ฉบับที่ วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ปีที่ 53 ฉบับที่ 1 ของปี พ.ศ. 2566
โทรศัพท์ 0 2579 5587
อีเมล fic.ifrpd@gmail.com
ลิงก์วารสาร https://kukrdb.lib.ku.ac.th/journal/FOOD/search_detail/result/20018268

รายละเอียด

 
เรื่องเล่ารสขม
โดย ดร.ทิพย์ธิดา แก้วตาทิพย์
นักวิจัยชำนาญการ ฝ่ายเคมีและกายภาพอาหาร
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
 
มนุษย์เราสามารถรับรู้รสขมและต่อต้านรสขม เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเข้าสู่ร่างกายได้ เนื่องจากสารพิษหลายชนิดมีรสขม
แต่.....สารรสขมในพืชหลายชนิดเป็นสารพฤกษเคมีที่มีประโยชน์
ต่อร่างกาย ซึ่งประโยชน์ต่อร่างกายนี้เป็นสิ่งที่ภาคอุตสาหกรรมอาหาร
ตระหนักและมีความพยายามในการลดรสขมนั้นลง โดยเริ่มตั้งแต่
 
- การคัดเลือกสายพันธุ์พืช
- กระบวนการแปรรูป
- การเก็บรักษา
 
เพื่อเพิ่มการยอมรับของผู้บริโภค และสามารถทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ภายใต้การระบุบนฉลากว่ามีรสขมน้อยลง และเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภครับประทานอาหารที่มีประโยชน์จากพืชได้มากขึ้น
 
keywords: ถั่วเหลือง; พืชตระกูลซิตรัส; พืชตระกูลกะหล่ำ; ชา; ช็อกโกแลต; ไวน์แดง; สารพฤกษเคมี; สารประกอบฟีนอล; สารไอโซฟลาโวน; สารฟลาโวนอยด์; สารกลูโคซิโนเลต; แทนนิน; โปรตีน; การย่อยโปรตีน; เปปไทด์; การรับรส;รสขม; การลดรสขม
 
บทความจากวารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร :
--
 
วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ขอเชิญชวนท่านผู้สนใจส่งบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร เคมีอาหาร องค์ความรู้ด้านโภชนาการ การวิเคราะห์คุณสมบัติต่าง ๆ และองค์ความรู้ทางวิชาการด้านอาหารที่เกี่ยวข้อง เพื่อรับการเผยแพร่ในวารสารฯ โดยสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มและข้อเสนอแนะการเขียนบทความได้ที่ : https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/JFRPD
 
ลักษณะของบทความที่ตีพิมพ์
- บทความวิจัย (research article) หรือ บทความปริทัศน์ (review article) ที่มีเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร เช่น เทคโนโลยีการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ องค์ความรู้ด้านโภชนาการ และการวิเคราะห์คุณสมบัติต่าง ๆ โดยบทความดังกล่าวจะต้องไม่เคยได้รับการตีพิมพ์ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นมาก่อน
- บทความทุกเรื่องจะได้รับการพิจารณากลั่นกรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยจำนวน 3 ท่าน/ 1 บทความ
- รูปแบบการพิจารณา คือ ผู้พิจารณาไม่ทราบชื่อผู้แต่ง และผู้แต่งไม่ทราบชื่อผู้พิจารณา (Double-blinded peer review)
 
ไม่มีการเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ใด ๆ ในทุกขั้นตอน